พัฒนาสังคมไทย ด้วยความรู้เข้าใจไตรภูมิ (Developing Thai Society with a Thorough Knowledge and Understanding the Three Planes) ((ฉบับ ๒ พากย์ แปลโดยศาสตราจารย์ ดร. พงษ์ศรี เลขะวัฒนะ )

หากว่าจุดมุ่งหมายแห่งการหลุดพ้นจากไตรภูมิ ได้เคยเป็นอุดมคติของสังคมไทยในอดีต และหลักการต่างๆ เกี่ยวกับกรรมและไตรลักษณ์ได้เคยเป็นอุดมการณ์ที่คนไทยยึดถือกันสืบมา บัดนี้ แม้ว่าสังคมจะเปลี่ยนแปลงไปแล้วอย่างมากมาย แต่คติแห่งการหลุดพ้นจากไตรภูมิ (การพ้นจากอำนาจของอามิสและความยึดติดทุกรูปแบบ) พร้อมทั้งหลักกรรมและไตรลักษณ์ ก็ยังเป็นอุดมคติและอุดมการณ์ของสังคมไทยได้อย่างเหมาะสม สามารถนำมาใช้เป็นแนวนำทางในการพัฒนาสังคมโดยถูกทางและชอบธรรมได้

Granting that the ultimate goal of getting oneself out of the three planes of existence used to be an ideal of Thai society 9in the past, and the various principles of kamma and tilakkhanฺa used to be ideologies traditionally upheld by Thai people. At present although society has undergone tremendous changes, this ideal go getting oneself out of the three planes (freedom from the dominance of materialism or from the dominance of material allures and all forms of attachment) together with the principles of kamma and tilakkhana are still the suitable ideal and ideologies of Thai society, and can be utilized as guidelines for developing Thai society in a proper and righteous way.

Language
Typeสนทนา/เขียนร่วม
Translated from พัฒนาสังคมไทย ด้วยความรู้เข้าใจไตรภูมิฯ
ศาสตราจารย์ ดร. พงษ์ศรี เลขะวัฒนะ และศาสตราจารย์ ดร. สมศีล ฌานวังศะ เขียนบันทึกท้ายเล่มเป็นภาษาอังกฤษและแปลเป็นภาษาไทย (Translated by Prof. Dr. Pongsri Lekawatana, Endnotes in English with Thai translation by Prof. Dr. Somseen Chanawangsa)
First publishingMarch 2556
Latest publishing onPublishing no. 5 September 2560
ISBN978-616-7053-28-8
Dewey no.BQ1029.T5

หนังสือที่เกี่ยวข้องกัน

Found matched 1 books
The content of this site, apart from dhamma books and audio files, has not been approved by Somdet Phra Buddhaghosacariya.  Such content purpose is only to provide conveniece in searching for relevant dhamma.  Please make sure that you revisit and cross check with original documents or audio files before using it as a source of reference.